ขนมเบื้อง

ขนมเบื้อง
ขนมเบื้องป้าก้อย เชียงใหม่

วันอาทิตย์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

ขนมเบื้อง โบราณอย่างยิ่ง

ในสมัยพุทธกาลน่าจะมีการทำขนมเบื้องแล้ว เพราะในหนังสือ "ธรรมบทเผด็จ" กล่าวถึงเศรษฐีโกสิยะซึ่งเป็นคนตระหนี่อยากกินขนมเบื้อง จึงให้ภรรยาขึ้นไปทำขนมเบื้องบนปราสาทชั้นเจ็ดเพื่อจะได้ไม่ต้องแบ่งให้ใคร พระพุทธเจ้า จึงให้พระโมคคัลลานะไปขอรับบิณฑบาตรขนมเบื้อง เศรษฐีให้ทอดขนมชื้นเล็กๆถวาย แต่ทุกครั้งที่ละเลงแป้ง แป้งจะฟูขึ้นเต็มกระทะ เมื่อเสียดายให้ทำใหม่ก็เป็นแบบเดิมทุกครั้ง สุดท้ายเศรษฐีจึงละความพยายาม ยอมถวายขนมเบื้องไป พระโมคคัลลานะจึงเทศน์เรื่องโทษของความตระหนี่ เศรษฐีและภรรยาได้บรรลุธรรมทั้งคู่ และเปลี่ยนมาเป็นคนใจบุญ(จาก วิกิพีเดีย)
    ขนมเบื้องแม่อำภา ป้าก้อยสันกำแพง เจ้าเก่า
👉 การันตีความอร่อยที่มากกว่า 15 ปี
👉 บริการสินค้าแบบสดใหม่วันต่อวัน
👉 ทานได้ทั้งครอบครัว
👉 รับไปขายต่อ
📌 สนใจสั่งซื้อได้ทางแฟนเพจ หรือ ☎️โทร 093-2736409

วันเสาร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

ขนมเบื้องฝอยทอง ขนมไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ

มีหลักฐานกล่าวถึงในคำให้การขุนหลวงหาวัดว่า "บ้านหม้อปั้นหม้อข้าวหม้อแกงใหญ่เล็ก และกระทะเตาขนมครกขนมเบื้อง" 🎉 ขนมเบื้องแม่อำภา (ป้าก้อย สันกำแพง) *** รับออเดอร์ *** 📌 ชุดละ 100.- (มี 30 ชิ้น) 👉 ครีมเนียนนุ่ม 👉 ไส้หวาน (ไข่แดง 100% ไม่ผสมแป้ง) 👉 ไส้เค็ม (ทำจากมะพร้าว) 👉 มีหน้าร้านมี 2 สาขา ( สาขาหน้าธนาคารกสิกรบ่อสร้าง และ หน้าตลาดสันกำแพง ) 👉 ใกล้ไกลเราไปหมด 👉 การันตีความอร่อยกว่า 15 ปี 🚗 พร้อมบริการจัดส่งฟรี 🎈สันกำแพง 🎈ตัวเมืองเชียงใหม่ 🎈พื้นที่ใกล้เคียง 🎈นอกพื้นที่คิดค่าส่งตามจริง ปล.การสั่งพิมพ์จำนวนชุด ไส้ขนม ที่อยู่จัดส่ง เบอร์โทรศัพท์ นะครับ😊☺️ ☎️ โทร. 093-2736409 (แอ๊ด)

วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

ขนมเบื้องป้าก้อยเชียงใหม่ สดใหม่ทุกวัน สั่งทาง facebook ได้แล้ว

มองหาขนมอร่อยอย่างไทยต้องขนมเบื้องป้าก้อยเชียงใหม่เด้อจ้าว ฝอยทอง.ขนมไทย.เราจัดส่งตามท่านสั่งคุณภาพ100%.สดใหม่ทุกวัน.สอบถามก่อนตัดสินใจ.ได้ทุกวัน 🎉 ขนมเบื้องแม่อำภา (ป้าก้อย สันกำแพง) *** เปิดรับออเดอร์จัดส่งวันพรุ้งนี้ 15/05/63 *** 📌 ชุดละ 100.- (มี 30 ชิ้น) 👉 ครีมเนียนนุ่ม 👉 ไส้หวาน (ไข่แดง 100% ไม่ผสมแป้ง) 👉 ไส้เค็ม (ทำจากมะพร้าว) 👉 มีหน้าร้านมี 2 สาขา ( สาขาหน้าธนาคารกสิกรบ่อสร้าง และ หน้าตลาดสันกำแพง ) 👉 ใกล้ไกลเราไปหมด 👉 การันตีความอร่อยกว่า 15 ปี 🚗 พร้อมบริการจัดส่งฟรี 🎈สันกำแพง 🎈ตัวเมืองเชียงใหม่ 🎈พื้นที่ใกล้เคียง 🎈นอกพื้นที่คิดค่าส่งตามจริง ปล.การสั่งพิมพ์จำนวนชุด ไส้ขนม ที่อยู่จัดส่ง เบอร์โทรศัพท์ นะครับ😊☺️ ☎️ โทร. 093-2736409 (แอ๊ด)

วันพฤหัสบดีที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2562

ป้าก้อยขนมเบื้องสูตรขนมเบื้องไทยโบราณ คงความอร่อยจนถึงปัจจุบัน

ขนมเบื้องเป็นขนมไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ มีไส้ต่างๆ ไม่ว่าจะไส้เค็มหรือไส้หวาน แต่ขนมเบื้องสมัยใหม่ก็จะประยุกต์มีไส้หลากสีมากมายแล้วแต่ไอเดียของแต่ละคน แต่หากความอร่อยต้องยกให้ไส้หวาน เป็นไส้ที่ขายดีตั้งแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน ชมเพจ ป้าก้อยขนมเบื้องเชียงใหม่ https://www.facebook.com/kanombeangpakoy/

วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2562

ตํานานฝอยทอง ขนมไทยโบราณ

ฝอยทอง (โปรตุเกส: fios de ovos, ฟีอุชดือโอวุช, "เส้นด้ายที่ทำจากไข่")[1] เป็นขนมโปรตุเกส ลักษณะเป็นเส้นฝอยสีทอง ทำจากไข่แดงของไข่เป็ด เคี่ยวในน้ำเดือดและน้ำตาลทราย ชาวโปรตุเกสใช้รับประทานกับขนมปัง กับอาหารมื้อหลักจำพวกเนื้อสัตว์ และใช้รับประทานกับขนมเค้ก[2] โดยมีกำเนิดจากเมืองอาไวรู (Aveiro) เมืองชายฝั่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศโปรตุเกส ฝอยทองเป็นที่รู้จักในประเทศสเปนว่า อูเอโบอิลาโด (สเปน: huevo hilado "ไข่ที่ปั่นเป็นเส้นด้าย"), ในประเทศญี่ปุ่นว่า เครังโซเม็ง (ญี่ปุ่น: 鶏卵素麺 "เส้นไข่ไก่")[3], ในประเทศกัมพูชาว่า วาวี[4] ในประเทศมาเลเซียว่า จาลามัซ (มลายู: jala mas "ตาข่ายทอง")[5] และในมาลาบาร์เหนือ รัฐเกรละ ประเทศอินเดียว่า มุตตามาลา (มลยาฬัม: മുട്ടമാല "ฝอยไข่") ฝอยทองแพร่เข้ามาในประเทศไทย พร้อมกับทองหยิบและทองหยอด ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยมารีอา กูโยมาร์ เด ปิญญา (ท้าวทองกีบม้า, พ.ศ. 2202-2265) ลูกครึ่งโปรตุเกส-ญี่ปุ่น ภรรยาของเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ท้าวทองกีบม้ามีหน้าที่เป็นหัวหน้าห้องเครื่องต้น เป็นผู้ทำอาหารเลี้ยงต้อนรับคณะราชทูตจากฝรั่งเศสที่มาเยือนกรุงศรีอยุธยาในสมัยนั้น ทั้งนี้ฝอยทอง ปรากฏอยู่ใน กาพย์เห่ชมเครื่องคาว-หวาน บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ที่พระราชนิพนธ์ชมเชยฝีพระหัตถ์ในการแต่งเครื่องเสวยของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี ความว่า[6] ฝอยทอง เป็นยองใย เหมือนเส้นไหมไข่ของหวาน คิดความยามเยาวมาลย์ เย็บชุนใช้ไหมทองจีนฯ

ขนมเบื้องป้าก้อย เชียงใหม่

ขนมเบื้องเป็นขนมไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ มีลักษณะเป็นแผ่นแป้ง มีไส้รสต่างๆ มีหลักฐานกล่าวถึงในคำให้การขุนหลวงหาวัดว่า "บ้านหม้อปั้นหม้อข้าวหม้อแกงใหญ่เล็ก และกระทะเตาขนมครกขนมเบื้อง" ขนมเบื้องมีหลายแบบ ขนมเบื้องแบบไทยดั้งเดิม มีส่วนผสมหลักๆ คือ แป้งข้าวเจ้าและกระทิ ปรุงรสด้วยเกลือเท่านั้น ปัจจุบันไม่ค่อยมีใครทำแล้ว ขนมเบื้องไทยแบบชาววัง โดยทั่วไปมี 2 หน้าคือหน้ากุ้งและหน้าหวาน หน้ากุ้งใช้กุ้งแม่น้ำตัวโตสับละเอียดผสมกับพริกไทยและผักชีตำพร้อมมันกุ้ง นำไปผัดใส่น้ำตาล น้ำปลาหรือเกลือให้หอม ปัจจุบันมักเป็นหน้ามะพร้าวใส่สีแดง ส่วนหน้าหวานมีส่วนผสมของฟักเชื่อม ฝอยทองและพลับแห้งที่หั่นบางๆ ปัจจุบันมีแต่ฝอยทองกับครีม อย่างไรก็ตามในวังสวนสุนันทา มีหน้าหมูอีกอย่างหนึ่ง ใช้หมูสับคลุกคล้ากับกระเทียม พริกไทย รากผักชีโขลก ใส่พริกขี้หนู นำไปรวนพอสุก ขนมเบื้องญวน เป็นขนมที่เข้ามาพร้อมกับเชลยชาวญวนในสมัยรัชกาลที่ 3 ซึ่งถูกกวาดต้อนมาระหว่างสงครามสยาม-เวียดนาม ขนมนี้ทำจากแป้งละลายกับไข่ให้ข้น ตักแป้งเทลงในกระทะที่ทาน้ำมันไว้ แผ่เป็นแผ่นกลม ใส่ไส้แล้วพับกลาง จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในสมัยพุทธกาลน่าจะมีการทำขนมเบื้องแล้ว เพราะในหนังสือ "ธรรมบทเผด็จ" กล่าวถึงเศรษฐีโกสิยะซึ่งเป็นคนตระหนี่อยากกินขนมเบื้อง จึงให้ภรรยาขึ้นไปทำขนมเบื้องบนปราสาทชั้นเจ็ดเพื่อจะได้ไม่ต้องแบ่งให้ใคร พระพุทธเจ้า จึงให้พระโมคคัลลานะไปขอรับบิณฑบาตรขนมเบื้อง เศรษฐีให้ทอดขนมชื้นเล็กๆถวาย แต่ทุกครั้งที่ละเลงแป้ง แป้งจะฟูขึ้นเต็มกระทะ เมื่อเสียดายให้ทำใหม่ก็เป็นแบบเดิมทุกครั้ง สุดท้ายเศรษฐีจึงละความพยายาม ยอมถวายขนมเบื้องไป พระโมคคัลลานะจึงเทศน์เรื่องโทษของความตระหนี่ เศรษฐีและภรรยาได้บรรลุธรรมทั้งคู่ และเปลี่ยนมาเป็นคนใจบุญ ในพระราชนิพนธ์ 12 เดือนของรัชกาลที่ 5 กล่าวถึงพิธีในเดือนอ้ายว่า กำหนดเลี้ยงขนมเบื้องนี้ว่าเมื่อพระอาทิตย์สุดทางใต้ตกนิจ เป็นวันที่หยุดจะกลับขึ้นเหนืออยู่ในองศา 8 องศา 9 ในราศีธนู เป็นถึงกำหนดเลี้ยงขนม กำหนดพระสงฆ์ตั้งแต่เจ้าพระ พระราชาคณะ 80 รูป ฉันในพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ขนมเบื้องนั้นเกณฑ์พระบรมวงศานุวงศ์ ฝ่ายใน ท้าวนาง เจ้าจอมมารดา เถ้าแก่ พนักงานคาดปะรำ ตั้งเตาละเลงข้างท้องพระโรง การละเลงขนมเบื้องให้สวยงามในสมัยโบราณถือเป็นคุณสมบัติอย่างหนึ่งของกุลสตรี ดังที่ปรากฏในเรื่องขุนช้างขุนแผนที่นางศรีมาลาและนางสร้อยฟ้าละเลงขนมเบื้อเปรียบเทียบฝีมือกัน และยังมีคำพังเพยกล่าวถึงคนช่างติ คนดีแต่พูดว่า"อย่าละเลงขนมเบื้องด้วยปาก

โพสต์แนะนำ

ขนมเบื้องป้าก้อย เชียงใหม่

ขนมเบื้องเป็นขนมไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ มีลักษณะเป็นแผ่นแป้ง มีไส้รสต่างๆ มีหลักฐานกล่าวถึงในคำให้การขุนหลวงหาวัดว่า "บ้านหม้อปั้นหม...